วันพฤหัสบดีที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2553

Chapter 3 Application Software

           บทที่ 3
          ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่ทำหน้าที่เป็นคำสั่งที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออาจเรียกว่า “ โปรแกรม ” ก็ได้ ซึ่งหมายถึงคำสั่งหรือชุดคำสั่ง สามารถใช้เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน เราต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรก็เขียนเป็นคำสั่งที่จะต้องสั่งเป็นขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียดและครบถ้วนก็จะเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (Programmer) สำหรับการเขียนโปรแกรมดังกล่าวใช้ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะ หรือหมายถึง ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล เป็นต้น โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาก็จะนำไปใช้ในงานเฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมสต็อกสินค้าคงคลัง โปรแกรมคำนวณภาษี โปรแกรมคิดเงินเดือนพนักงาน เป็นต้น
           Software ทั่วไปที่เชื่อมโยงและนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ




        ประเภทที่ 1 คือ system software คือ เป็นชุดของโปรแกรมที่เป็นตัวกลางอยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ มีหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ประยุกต์ และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมกันใช้ในปัจจุบัน เช่น Windows , Mac OS , DOS , Linux



       ประเภทที่ 2 คือ Application software คือ ซอร์ฟแวร์เฉพาะด้านซึ่งความสามารถของโปรแกรมนั้นๆจะต่างกันออกไป ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ



- ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program







- ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไปหรือซอฟต์แวร์สำเร็จรูป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ผู้ใช้สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ การ ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น
          

Chapter 4 The Components of the System Unit

บทที่ 4 The Components of the System Unit


                     คือ ส่วนประกอบของหน่วยระบบ ได้อธิบายและแสดงส่วนประกอบในหน่วยระบบที่อธิบายวิธีการจัดเก็บข้อมูลหน่วยความจำ, คำแนะนำและข้อมูลและคำอธิบายลำดับการดำเนินงานที่เกิดขึ้นเมื่อคอมพิวเตอร์ดำเนินการ The chapter included a comparison of various microprocessors on the market today. บทรวมเปรียบเทียบของไมโครโปรเซสเซอร์ต่างๆในตลาดปัจจุบัน
                   หน่วยระบบ เป็นที่อยู่อาศัยกล่องชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ของข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการประมวลผล System unit components include the processor, memory module, cards, ports, and connectors. ระบบองค์ประกอบรวมหน่วยประมวลผลที่หน่วยความจำการ์ด, พอร์ตและการเชื่อมต่อ Many of the system unit's components reside on a circuit board called the motherboard . The motherboard contains many different types of chips , or small pieces of semiconducting material, on which one or more integrated circuits ( IC ) are etched. หลายหน่วยของระบบส่วนประกอบอยู่ในแผงวงจรที่เรียกว่าเมนบอร์ด . เมนบอร์ดมีหลายประเภทชิปหรือชิ้นเล็ก ๆ กึ่งตัวนำวัสดุที่หนึ่งหรือวงจรรวม (IC) ที่ฝัง An integrated circuit is a microscopic pathway capable of carrying electronic current. วงจรรวมเป็นวิถีทางกล้องจุลทรรศน์สามารถแบกอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน Each IC can contain millions of transistors , which act as switches for electronic signals. IC แต่ละคนสามารถมีล้านทรานซิสเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิตช์สำหรับสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์

Chapter 1 Introduction to Computer


บทที่ 1 Introduction to Computer


                 

                         คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องที่ manipulates ข้อมูลตามรายการของคำแนะนำคอมพิวเตอร์ยังสามารถกำหนดเป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่รับ input (ข้อมูล), การได้และให้ออกผล (ข้อมูล)       
                         ปัจจุบันคอมพิวเตอร์เริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันเรามากขึ้น ตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงผู้สูงอายุ ทุกสาขาอาชีพเพราะอะไรหรือ ก็เพราะคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน มีระบบการสื่อสารที่ทันสมัย สามารถเชื่อมโยงข้อมูลได้ถึงกันทั่วโลก โดยอาศัยระบบการสื่อสารที่เรียกว่า Internet เข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ว่าเราจะอยู่ตำแหน่งไหนของโลก เราก็สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ข้อมูลที่ได้รับก็ทันสมัย ทันเหตุการณ์ ไม่ล่าช้า คอมพิวเตอร์มีบทบาทมากในปัจจุบัน เช่น บทบาทของคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษาปัจจุบันตามสถานศึกษาต่างๆ ได้มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนอย่างมากมาย รวมทั้งใช้คอมพิวเตอร์ในงานบริหารของโรงเรียน เช่น การจัดทำประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย์ การคัดคะแนนสอบ การจัดทำตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ ในงานห้องสมุด การจัดทำตารางสอน และยังมี  บทบาทคอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์คือ คอมพิวเตอร์ได้ถูกนำมาใช้ในการเก็บประวัติของคนไข้ ควบคุมการรับ และจ่ายยา ตลอดจนยังอยู่ในอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์

                               

Chapter 6 Output

บทที่ 6 Output
            Output: คือผลลัพธ์ของข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลโดยหน่วยประมวลผลกลาง (CPU/Processor) และนำผลลัพธ์นั้นส่งออกไปแสดงผลยังอุปกรณ์แสดงผล ซึ่งอุปกรณ์แสดงผลมาตรฐาน ได้แก่ Monitor และ Printer Screen (monitor)
           

                  

              Monitor สามารถแสดงผลข้อความ (Text) ตัวเลข (Number) รูปภาพ (Image) เสียง (Sound) และ VDO แสดงผลในรูปแบบของสีหรือขาวดำ การแสดงผลทาง Screen output จะเรียกว่า soft copy สัมผัสไม่ได้และแสดงผลชั่วคราว ส่วนใหญ่แสดงผลเป็นสี ส่วนจอ monochrome จะแสดงผลเป็นสีเดียว (ขาว-ดำ) ใช้ Graphics card ในการแปลงสัญญาณจากหน่วยควบคุมไปเป็นภาพให้ user มองเห็น


                       
                          Printer Screen (monitor) ใช้เมื่อต้องการแสดงผลในรูปของกระดาษ งานที่ Print ออกมาทางกระดาษจะเรียกว่า “hard copy” และสามารถกำหนดแนวของกระดาษได้ 2 แนวคือ กระดาษแนวตั้ง (Portrait) และกระดาษแนวนอน (Landscape) สามารถจำแนกเครื่อง printer มี 2 ประเภท ได้แก่
                        1. Impact printer  สร้างภาพออกทางกระดาษ โดยมีการกระทบหัวเข็มหรือสัมผัสลงบนกระดาษ มักใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ Mainframe Computers ที่มีการ Print รายงานที่มีความยาวมาก ๆ โดยใช้กระดาษต่อเนื่อง หรือใช้กับการ Print กระดาษต่อเนื่องที่ต้องการหลาย ๆ Copy เครื่อง printer ที่จัดอยู่ในประเภทของ Impact Printer ได้แก่ Dot-matrix printerHand held printer  เป็นเครื่อง Print แบบพกพาได้ ส่วนมากใช้กับการ Print รูปขนาดเล็ก หมึกที่ใช้จะถูกออกแบบมาพิเศษ มีความสามารถในการทนน้ำได้ ตลับหมึกมีการแยกสีเฉพาะ
                      2. None-impact Printers เป็นเครื่องพิมพ์ที่ Print ภาพออกทางกระดาษโดยไม่ใช้การกระทบของหัวเข็ม เครื่อง Print ที่รู้จักกันดีคือ Laser printer และ Ink-jet printe
                     Ink-jet printer เป็นเครื่องพิมพ์ที่ Print ภาพออกทางกระดาษโดยไม่ใช้การกระทบของหัวเข็ม เครื่อง Print ที่รู้จักกันดีคือ Laser printer และ Ink-jet printer
                     Laser printer  เป็นเครื่อง Print ที่ไม่มีการสัมผัสลงบนกระดาษ การทำงานนั้นจะใช้การยิงลำแสงส่งผ่านภาพไปยัง กระดาษ มีความเร็วและประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่อง ink-jet printer
                 



     

Chapter 2 The Internet and World Wide Web

บทที่ 2 The Internet and World Wide Web
               กล่าวถึง   เวิร์ลไวด์เว็บ (World Wide Web) หรือเครือข่ายใยแมงมุม ซึ่งที่จริงควรแปลให้ถูกว่า "ใยแมงมุมทั่วโลก" เป็นส่วนของอินเทอร์เน็ตที่ร้อนที่สุดในเวลานี้ ลักษณะของเครือข่ายใยแมงมุมนี้ก็คือว่า เป็นฐานข้อมูลแบบหลายสื่อ (multimedia)   เวิร์ลไวด์เว็บถือกำเนิดขึ้นเป็นครั้งแรกโดยมีโครงการทางวิชาการในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างนักวิทยาศาสตร์ในทวีปยุโรป โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ CERN ซึ่งเป็นศูนย์วิจัยทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ผู้ที่ได้รับเกียรติเป็นบิดาของเวิร์ลไวด์เว็บได้แก่ Tim Berners-Lee  ในปัจจุบันเครือข่ายใยแมงมุมมิได้จำกัดตนเองอยู่แต่ในวงวิชาการเท่านั้น แต่ได้แพร่กระจายไปยังส่วนต่างๆของสังคม เรียกได้ว่าเกือบทั้งหมดแล้ว เครือข่ายนี้ได้กลายเป็นเครื่องมือสำคัญในโลกธุรกิจ ในการติดต่อกับข้อมูลอันหลากหลายของเวิร์ลไวด์เว็บนี้ เราใช้โปรแกรมที่เรียกว่า browser ซึ่งทำหน้าที่ให้เครื่องของเราเหมือนกับเครื่องลูกข่ายที่ติดต่อผ่านระบบเครือข่ายไปยังระบบของเวิร์ลไวด์เว็บโดยตรง





                          กล่าวได้ว่าการใช้งาน Web แทบไม่ต้องพิมพ์คำสั่งอะไรเลย ส่วนใหญ่สิ่งที่ทำคือการคลิกอย่างเดียว ทั้งเนื่องจากเอกสารทั้งหลายนั้นเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน เมื่อท่านจะทำการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ ท่านก็เลือกค้นหาไปตามจุดเชื่อมไปเรื่อย ๆจนเจอข้อมูลนั้น ซึ่งก็คือการไล่คลิกตามจุดเชื่อมโยงไปเรื่อยๆ
                        E-mail หรือ จดหมายอิเล็กทรอนิคส์เป็นบริการอย่างหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมาก จนทำให้บางคนคิดว่า E-mail คือ อินเตอร์เน็ต และอินเตอร์เน็ตคือ E-mail วิธีใช้งานอีเมลล์ก็ง่ายและมีประโยชน์มาก


                           

Chapter 11 Computer Security and Safety,Ethics,and Privacy

บทที่ 11 Computer Security and Safety,Ethics,and Privacy




                       การรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์และการป้องกันคอมพิวเตอร์ที่เป็นทั้งส่วนบุคคล และ องค์กร คือความเสี่ยงของคอมพิวเตอร์ที่จะมีบุคคลอื่นซึ่งเราไม่ได้อนุญาตมาทำให้เกิดความเสียหาย ก็จะเกิดความเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายต่อคอมพิวเตอร์และข้อมูลของคุณ จึงมีการลดความเสี่ยงน้อยลงให้รู้ถึงการใช้คอมพิวเตอร์ให้รู้เท่าทันกับภัยอันตรายที่มีอยู่ในปัจจุบัน


                          ความปลอดภัยทางด้านจริยธรรมและความเป็นส่วนตัว ในการใช้คอมพิวเตอร์นั้นควรคำนึงถึงหลักจริยธรรม กล่าวคือไม่ควรกระทำการใดๆไม่เป็นที่เหมาะสม มีขอบเขตในการใช้คอมพิวเตอร์ที่ถูกต้อง และไม่ควรล่วงเกินข้อมูลของบุคคลอื่น รู้จักเคารพความเป็นส่วนตัวของแต่ละบุคคลด้วย

Chapter 7 Storage

บทที่ 7 Storage

            การเก็บ ข้อมูลต่างๆ ลงในหน่วยความจำ การเก็บข้อมูลนี้เป็นการบันทึกข้อมูลลงในหน่วยความจำเพื่อไม่ให้งานหายไป หรือเพื่อสามารถเรียกมาใช้ต่อได้ การเก็บข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูลสารสนเทศ รวมถึงรูปภาพ เพลง และวิดีโอ ที่เราต้องการที่จะใช้ หากแหล่งความรู้มีการจัดเก็บในรูปแบบสื่อดิจิตอล ซึ่งก็ต้องใช้ที่เก็บจำนวนมาก การใช้ที่เก็บในรูปสื่อมัลติมีเดีย ทำให้ขนาดของที่เก็บมีขนาดความจุเพิ่มสูงขึ้น ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลจะก้าวหน้าไปมากแล้วก็ตาม การดำเนินการพัฒนาขนาดและเทคโนโลยีก็ต้องดำเนินต่อไป เพราะหากพิจารณาถึงขุมความรู้จำนวนมหาศาลที่จะเก็บ ผู้ใช้สามารถนำมาใส่ในอุปกรณ์เก็บข้อมูลไม่ว่าจะเป็น Hard Disks ที่ สามารถ เก็บข้อมูลได้ค่อนข้างเยอะมาก ซึ่งสามารถจุข้อมูลได้ตั้งแต่ 160 GB - 1.5 TB เป็นหน่วยความจำที่เหมาะสำหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ที่ผู้ใช้ทำงานเอกสาร ทำข้อมูลพื้นฐาน การส่งเข้า e-mail หรือจะเก็บไว้ใน Memory Card สามารถเก็บข้อมูลได้แต่มีขนาดเล็กกว่า hard disk